ระบบที่2


แผนกบุคคล
ขั้นตอนที่ 1
การเสนอแนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งาน
แนวทางเลือกเพื่อนาระบบใหม่มาใช้งาน โดยจะบอกถึงรายระเอียดของระบบที่จะพัฒนามีดังนี้
ระบบฝ่ายบุคคล โดยมีแนวทางเลือกจานวนทั้งสิน 2 ทางเลือก
1.ซื้อซอฟแวร์สาเร็จรูป
2.จ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ
ทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้ที่ดีที่สุด
การเสนอแนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งาน
ทางเลือกที่ 1 : การจัดซื้อซอฟต์แวร์สาเร็จรูป มีรายละเอียดดังตาราง
การประเมินแนวทางเลือกที่ 1
ทางทีมงานได้ทาการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกาหนด เกณฑ์การให้น้าหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
น้าหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
น้าหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
น้าหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้าหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 1
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกซื้อ Software B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
ทางเลือกที่ 2 : ว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
การประเมินแนวทางเลือกที่ 2
ทางทีมงานได้ทาการประเมินผลแนวทางเลือกว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ ที่เหมาะสม โดยกาหนดเกณฑ์การให้น้าหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
น้าหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
น้าหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
น้าหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้าหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 2
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
เปรียบเทียบแนวทางเลือกทั้ง2
ผลจากการพิจารณาแนวทางเลือกของทีมงานจากทั้งสองแนวทาง จะนาเสนอเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหารเพื่อพิจารณาเลือกแนวทางตามที่ได้นา เสนอจากทีมงานพัฒนา พร้อมข้อเสนอแนะในแต่ละแนวทางเลือกหลักทั้งสอง โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
ข้อเสนอแนะแนวทางเลือกทั้ง2แนวทาง
แนวทางเลือกที่ 1 การจัดซื้อซอฟต์แวร์สาเร็จระบบB
ข้อดี ระบบ มีความสามารถพัฒนาระบบได้ตรงตามข้อกาหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการ ของบริษัทที่ได้จัดทาไว้ราค่ามาต้นทุน/ค่าบารุงรักษาระบบไม่สูงมากนัก
ข้อเสีย ระบบไม่สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการแต่ก็ไม่กระทบองค์กรใช้ระยะเวลาในการติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งานนาน
แนวทางเลือกที่ 2 การว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ B
ข้อดี ระบบ มีความสามารถพัฒนาระบบได้ตรงตามข้อกาหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการ ของบริษัทที่ระบบยังมีความยืดหยุ่นในปรับแต่งได้ตามความต้องการโดยไม่กระทบ องค์กรสามารถพัฒนาไปยังอนาคตข้างหน้าได้ใช้ระยะเวลาติดตั้งและฝึกอบรมการใช้ งานน้อย
ข้อเสีย ราค่าต้นทุน/ค่าบารุงรักษาระบบค่อนค้างสูง
ผู้บริหารเลือกแนวทางที่ดีที่สุด
หลังจากหัวหน้าทีมงานได้เสนอแนวทางเลือก โดยจัดทาข้อมูลเปรียบเทียบและข้อเสนอแนะแก่ทีมผู้บริหาร โดยใช้กฎเกณฑ์การให้น้าหนัก (คะแนน) ดังตารางต่อไปนี้
สรุปผลการประเมินโดยทีมงานผู้บริหาร
ทางทีมงานผู้บริหารได้พิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางการว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B เนื่อง จากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุดนอกจากจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงานแม้ว่าราค่าค่าติดตั้งจะค่อนค้างสูง แต่ก็มีความคุ้มค่าในการลงทุนแล้วแล้วยังสามารถพัฒนาไว้ใช้งานในระยะยาว
ขั้นตอนที่ 2
การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
เป้าหมาย
นาระบบสาระสนเทศเพื่อการบริหารงานขายมาใช้งานในบริษัทเพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า
วัตถุประสงค์
โครงการพัฒนาระบบการสั่งจองรถยนต์มีวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานเพื่อ วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาให้เป็นระบบงานบุคคลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้
ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ
ขอบเขตของระบบ
โครงการพัฒนาระบบการสั่งจองรถยนต์ได้มีการจัดทาขึ้นโดยการว่าจ้างบริษัท B มารับผิดชอบโครงการ พร้อมกันนี้ได้กาหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ระบบจะต้องแบ่งการทางานอย่างชัดเจน แต่ข้อมูลสามารถเชื่อมโยงกันได้
2. ระบบจะต้องรองรับการทางานแบบ Multi-User ได้
3. ระบบจะต้องใช้งานง่ายและสะดวก
4. ระบบจะต้องเกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุดต่อการทางาน
5. ระบบจะต้องมีความถูกต้องและแม่นยามากที่สุด
ปัญหาที่พบจากระบบเดิม
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลของพนักงานและการค้นหาข้อมูลของพนักงานเกิดความซ้าซ้อน
2. ข้อมูลที่ได้ไม่มีความชัดเจนและแน่นอน
3. เนื่องจากเป็นระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลอยู่ตลอดเวลาทาให้ข้อมูล เกิดความเสียหายและสูญหายได้
1. ยากต่อการหาข้อมูล
2. การทางานของพนักงานแต่ละฝ่ายไม่มีความแน่นอน
ความต้องการในระบบใหม่
ความต้องการในระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้ คือความรวดเร็วของระบบใหม่ ในการทางาน
1. สามารถเก็บ และตรวจสอบข้อมูลพนักงานได้
2. สามารถเพิ่ม แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของพนักงานได้
3. สามารถรับสมัครพนักงานผ่านระบบงานออนไลน์ได้
4. การเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของพนักงานทุกฝ่ายเช่น บัญชี สามารถคานวณเงินเดือนพนักงานได้
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบใหม่
1. บริษัทมีผลการดาเนินการที่ดีขึ้น
2.ขั้นตอนการทางานของระบบในบริษัทที่มีความรวดเร็ว
3.ขั้นตอนการรับสมัครพนักงาน มีความถูกต้อง ชัดเจนและรวดเร็วในการทางาน
4.สามารถจัดเก็บข้อมูลพนักงาน ทาให้การรวดเร็วและถูกต้อง
5.การทางานของพนักงานเป็นระบบและมีประสิทธิภาพสะดวกสบายในการตรวจเช็คข้อมูล
แนวทางในการพัฒนา
การพัฒนาระบบของบริษัทสหยานยนต์ค้ารถมือสอง เป็นการพัฒนาระบบในส่วนของแผนกบุคคล การทางานของพนักงานในแต่ละหน้าที่ซึ่งบางครั้งการทางานขั้นตอนต่าง ๆ อาจจะมีเอกสารหรือข้อมูลที่ซับซ้อนหลายขั้นตอน ดังนั้นจึงได้มีการวิเคราะห์ระบบใหม่เพื่อความสะดวกและมีประสิทธิภาพในการทา งาน เมื่อพิจารณาถึงขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมกับบริษัทแล้วสามารถแบ่งได้ ทั้งหมด7ขั้นตอน 1. การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
2. การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
3. การวิเคราะห์ระบบ
4. การออกแบบเชิงตรรกะ
5. การออกแบบเชิงกายภาพ
6. การพัฒนาและติดตั้งระบบ
7. การซ่อมบารุงระบบ
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
เป็นขั้นตอนในการค้นหาโครงการเพื่อพัฒนาระบบใหม่ให้เหมาะสมกับระบบเดิมหรือ ให้เหมาะสมกับองค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือต้องการระบบเพื่อนามาใช้ในการ บริหารงานในส่วนที่เกิดความบกพร่องของบริษัท เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในการทางานขององค์กร
ดังนั้นจึงได้ยกตัวอย่างบริษัทที่ต้องการพัฒนาระบบคือบริษัทสหยานยนต์ค้ารถมือสอง ข้อมูลดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ในส่วนของระบบที่ต้องการแก้ไขคือ
· การจัดเก็บข้อมูลพนักงาน
การรับสมัครพนักงาน
การคานวณเงินเดือนสุทธิของพนักงาน
ขั้นตอนที่ 2 การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
เป็นขั้นตอนในการเริ่มต้นทาโครงการด้วยการเริ่มต้นจัดตั้งทีมงาน ซึ่งเราจะต้องกาหนดหน้าที่ให้กับทีมงานแต่ละคนอย่างชัดเจนเพื่อร่วมกันสร้าง แนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งานและนอกจากขั้นตอนดังกล่าวแล้วยังมีขั้น ตอนอื่นอีกมากที่เกี่ยวข้องซึ่งเราสามารถสรุปกิจกรรมในขั้นตอนนี้
ได้ดังนี้
1. เริ่มต้นทาโครงการ ก่อนเริ่มทาโครงการเราควรศึกษาระบบเดิมในการทางานก่อน
2. กาหนดวัตถุประสงค์หรือทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้
3. วางแผนการทางานของระบบใหม่
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์
1. ศึกษาขั้นตอนการทางานของระบบเดิม ดูว่าการทางานของบริษัท มี การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างไรและเหตุใดจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบ เดิม และระบบที่เปลี่ยนแปลงนี้จะเปลี่ยนในส่วนของระบบการสั่งจองสินค้า
2. การรวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ ศึกษาหรือสอบถามข้อมูลของระบบเดิมจากพนักงานหรือผู้ใช้ระบบ
3. จาลอง แบบความต้องการที่รวบรวมได้ เมื่อเรารวบรวมข้อมูลมาได้แล้ว ก็สามารถออกแบบจาลองดังกล่าวได้ ด้วยวิธีการใดก็ได้ที่นักวิเคราะห์ระบบนามาใช้ในการทางานของระบบ
ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบเชิงตรรกะ เป็นขั้นตอนในการออกแบบขั้นตอนการทางานของระบบในแต่ละส่วนงานหรือแต่ละแผนก ของงาน ซึ่งในการออกแบบระบบ ระบบงานที่ได้ในแต่ละส่วนจะไม่เหมือนกัน ซึ่งอาจจะมีแบบฟอร์มหรือผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเราวิเคราะห์ขบวนเสร็จเรียบร้อย แล้ว ขั้นตอนที่ 5 การออกแบบเชิงกายภาพ ในขั้นตอนนี้เป็นการทางานของระบบในส่วนของเทคนิคของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการปรับปรุงระบบอาจจะเป็นระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล โปรแกรมสาเร็จรูป เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสามารถเข้าใจขั้นตอนการทางานมากขึ้น ซึ่งสิ่งที่ได้ในส่วนนี้จะเป็นแค่การออกแบบหลังจากนั้นจะทาการส่งให้โปรแกรมเมอร์ต่อไป ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาและติดตั้งระบบ ขั้นตอนนี้จะนาข้อมูลเฉพาะในส่วนที่ต้องการออกแบบของระบบมาทาการเขียนโปรแกรม เพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการของระบบงานใหม่ อาจนาโปรแกรมที่เขียนสาเร็จรูปแล้วมาใช้งานในระบบก็ได้ หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วเราก็ควรทาการทดลองว่าโปรแกรมใช้งานได้เหมาะสมกับการทางานของบริษัทหรือไม่ ซึ่งในขั้นตอนนี้มีกระบวนการทางานดังนี้ 1. เขียนโปรแกรม 2. ทดสอบโปรแกรม 3. ติดตั้งระบบ 4. จัดทาเอกสาร สรุปผลการทางานของระบบ ขั้นตอนที่ 7 การซ่อมบารุงระบบ อาจจะเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการปรับปรุงระบบ เพราะหลังจากได้ระบบใหม่มาแล้ว เราก็นาเอาระบบที่ได้มานี้ทาการแก้ไขหากระบบที่ได้มาเกิดข้อผิดพลาด
ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดความต้องการของระบบ การกาหนดความต้องการของระบบ เมื่อโครงการพัฒนาระบบได้รับการอนุมัติจากการนาเสนอโครงการในขั้นตอนที่ผ่านมา ดังนั้น จึงเริ่มต้นด้วยความการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบเดิม ในการกาหนดความต้องการครั้งนี้ ทีมงานเลือกใช้วิธีการออกแบบสอบถาม
1. ออกแบบสอบถาม บุคคลผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้จัดการแผนกบุคคลการใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลในส่วนที่ต้องการพัฒนา เนื่องจากทีมงานสามารถควบคุมหัวข้อคาถามที่ต้องการรายละเอียดได้มากกว่าการสัมภาษณ์ไม่ต้องมีการจดบันทึกไม่รบกวนเวลาทางานของผู้จัดการแต่ละแผนกมากนักสามารถเก็บข้อมูลได้มากตามการตั้งคาถามในแบบสอบถามอีกทั้งผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกมีอิสระในการให้ข้อมูล ข้อมูลและเอกสารของระบบงานเดิมที่รวบรวมได้ จากการที่ทีมงานได้เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบเดิม ด้วยวิธีการออกแบบสอบถาม สามารถสรุปข้อมูลที่ได้รับดังนี้ 1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม 2. ความต้องการในระบบใหม่ 1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม ทางบริษัทใช้ระบบเครือข่าย LANประกอบด้วย 1.1 เครื่องแม่ข่าย จานวน 1 เครื่อง ใช้ซอฟต์แวร์เครือข่าย Windows Server 2008 1.2 เครื่องลูกข่าย จานวน 20 เครื่อง ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 7 และซอฟต์แวร์สาหรับงานสานักงาน Microsoft Office 2010 - แผนกการขาย ใช้ซอฟต์แวร์ Microsoft Excel ในการคานวณ ยอดขายสินค้าของแต่ละวัน - แผนกบัญชี ใช้ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี Accpac และใช้Microsoft Excel สาหรับคานวณเงินยอดการสั่งซื้อ สั่งเบิกสินค้า
- แผนกคลังสินค้า ใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูประบบตรวจเช็คสินค้า - แผนกซ่อมบารุง ใช้ซอฟต์แวร์ Microsoft Excel ในการคานวณยอดการเบิกจ่ายมาใช้ซ่อมบารุง 1.3 อุปกรณ์ต่อพ่วง ได้แก่ เครื่องพิมพ์เลเซอร์จานวน 3 เครื่อง 2. ความต้องการของระบบใหม่ -ข้อมูลในระบบสามารถเชื่อมโยงไปยังแผนกอื่นๆได้ แต่จะต้องทาการเข้า Login ก่อน -สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วและน่าเชื่อถือ -เพิ่ม ลด แก้ไข ข้อมูลของพนักงานและ ผู้สมัครงานได้ 3. ความต้องการของผู้ใช้ในระบบใหม่ จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ทางทีมงานสามารถสรุปความต้องการในระบบใหม่ได้ ดังต่อไปนี้ - ตรวจสอบข้อมูลปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลังได้ - ข้อมูลของแต่ละแผนกสามารถเชื่อมโยงกันได้ - สามารถเพิ่มเติม แก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ - สามารถให้บริการแก่พนักงานได้อย่างรวดเร็ว - เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของพนักงาน
ขั้นตอนที่ 4
แบบจาลองขั้นตอนการทางานของระบบ
Context Diagram

อธิบาย Context Diagram
การทางานของ Context Diagram มีอยู่ทั้งหมด4ส่วน ดังนี้
1. ผู้สมัคร : ผู้สมัครจะทาการกรอกใบสมัคร สัมภาษณ์งาน ข้อมูลจะส่งไปยังระบบและรอผลการตอบรับ
2. การเงิน : ทางการเงินจะขอดูค่าใช้จ่ายผ่านระบบและจะแจ้งอัตราการจ่ายเงินมาทางการเงิน
3. พนักงาน : พนักงานฝ่ายบุคคลจะกรอกข้อมูลการทางานของพนักงานในบริษัทเข้าสู่ระบบ และระบบ
จะทาเป็นรายงานส่งกลับมายังพนักงานฝ่ายบุคคล
4. ฝ่ายบริหาร : ฝ่ายบริหารจะทาการเรียกดูการจ่ายเงิน และขอดูผลการสมัครผ่านระบบ และระบบจะส่งผล
ตอบกับไปยังฝ่ายบริหาร

DFD-Level 0 : ระบบจัดการฝ่ายบุคคล
อธิบาย DFD-Level 0 : ระบบจัดการฝ่ายบุคคล
Process1 Log in การเข้าสู่ระบบ พนักงานจะต้องทาการล็อกอินเพื่อเข้าสู่ระบบทุกครั้ง
Process2 ตรวจสอบคุณสมบัติ ผู้สมัครจะกรอกใบสมัครเข้าสู่ระบบ ระบบจะทาการตรวจสอบข้อมูลและ ส่งผลไปยังฝ่ายบุคล และฝ่ายบุคคลจะทาการเก็บข้อมูลของพนักงาน
Process3 การสัมภาษณ์ ข้อมูลการสัมภาษณ์จะส่งถูกส่งไปยังฝ่ายบุคคล
Process4 คานวณเงินเดือน ฝ่ายบุคคลจะกรอกข้อมูลการทางานเข้าระบบสู่ระบบคานวณเงินเดือน และระบบ
จะทาการส่งข้อมูลไปยังฝ่ายบุคลและรายงานผลให้ผู้บริหาร ฝ่ายบุคคลจะกรอกข้อมูลเข้าระบบ
และจะรายงานให้ผู้สมัคร
Process5 รายงานผลการสัมภาษณ์ ฝ่ายบุคคลจะส่งผลการสัมภาษณ์เข้าสู่ระบบ และระบบจะรายงานผลกลับไปให้ผู้สมัคร
Process6 รายงานผลการสมัคร ฝ่ายบุคคลจะกรอกข้อมูลเข้าสู้ระบบและจะรายงานผลกับไปให้ผู้สมัคร
Process7 จ่ายเงินเดือน ฝ่ายบุคคลแจ้งเงินเดือนของพนักงานให้กับฝ่ายการเงินโดยจะดูข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล
และฝ่ายการเงินจะทาการบันทึกข้อมุลการจ่ายไปยังแฟ้มข้อมูล
Process8 รายงานผลการจ่าย ฝ่ายการเงินจะดึงข้อมูลการจ่ายจากแฟ้มข้อมูล และระบบจะทาการรายงานผลการจ่ายเงินเดือนไปยังฝ่ายบุคคล
DFD-Level 1 : ระบบจัดการฝ่ายบุคคล
Process 1

DATA FLOW DIAGRAM LEVEL 1 : การสมัครงาน
อธิบายการทางาน
ผู้สมัครกรอกข้อมูลลงใบสมัคร ระบบตรวจสอบคุณสมบัติของผู้สมัคร และส่งข้อมูลไปยังฝ่ายบุคคล
ฝ่ายบุคคลจะรายงานผลการสมัครไปยังระบบและแจ้งผลไปยังผู้สมัคร
Process 2

DATA FLOW DIAGRAM LEVEL 1 : การสัมภาษณ์งาน
อธิบายการทางาน
ผู้สมัครจะต้องสัมภาษณ์ ระบบจะตรวจสอบการสัมภาษณ์ และส่งข้อมูลไปยังฝ่ายบุคคล รายงานผลการสัมภาษณ์ไปยังระบบและแจ้งผลไปยังผู้สมัคร
Process 3

DATA FLOW DIAGRAM L:EVEL 1 : รายงานเงินเดือน
อธิบายการทางาน
เมื่อพนักงานเข้าสู่ระบบ จะนาข้อมูลการเงินส่งเข้าระบบคานวณเงินเดือนเพื่อหาอัตราการจ่ายเงินเดือน และส่งข้อมูลกลับไปยังฝ่ายบุคคล ฝ่ายบุคคลจะส่งอัตราการจ่ายเงินเดือนเข้าสู้ระบบการจ่ายเงิน และส่งข้อมูลการจ่ายไปยังฝ่ายการเงินเผื่อเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มการเงิน ฝ่ายการเงินส่งผลการจ่ายเงินเดือนไปยังระบบรายงานผล และส่งข้อมูลกลับไปยังฝ่ายบุคคล
โครงสร้างฐานข้อมูล
ตาราง Employee ใช้จัดเก็บข้อมูลพนักงาน มีโครงสร้างข้อมูลดังนี้

ตาราง User ใช้จัดเก็บข้อมูลของผู้เข้าใช้ระบบ มีโครงสร้างดังนี้

ตาราง Salary ใช้จัดเก็บข้อมูลเงินเดือน มีโครงสร้างดังนี้

ตาราง Applicant ใช้จัดเก็บข้อมูลการสมัครงาน มีโครงสร้างดังนี้

ER-Diagram
ระบบจัดการฝ่ายบุคคล


ขั้นตอนที่ 5
การออกแบบ User Interface

หน้าล็อกอิน เพื่อเข้าสู่ระบบการทางาน

หน้าหลัก เลือกหัวข้อที่ต้องการจะดาเนินการต่อ

แบบฟอร์มการสมัครงาน ให้ผู้สมัครกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน

ข้อมูลทางการเงิน กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน และกดปุ่มคานวณเพื่อหาเงินเดือนสุทธิ
ขั้นตอนที่ 6
การพัฒนาและการติดตั้ง
ขั้นตอนนี้จะนาข้อมูลเฉพาะในส่วนที่ต้องการออกแบบของระบบมาทาการเขียน โปรแกรม เพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการของระบบงานใหม่ อาจนาโปรแกรมที่เขียนสาเร็จรูปแล้วมาใช้งานในระบบก็ได้ หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วเราก็ควรทาการทดลองว่าโปรแกรมใช้งานได้เหมาะสมกับ การทางานของบริษัทหรือไม่ ซึ่งในขั้นตอนนี้มีกระบวนการทางานดังนี้ · เขียนโปรแกรม · ทดสอบโปรแกรม · ติดตั้งระบบ · จัดทาเอกสาร สรุปผลการทางานของระบบ
ขั้นตอนที่ 7 การซ่อมบารุงระบบ
อาจ จะเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการปรับปรุงระบบ เพราะหลังจากได้ระบบใหม่มาแล้ว เราก็นาเอาระบบที่ได้มานี้ทาการแก้ไขหากระบบที่ได้มาเกิดข้อผิดพลาดแผนการดาเนินงานของโครงการ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น